Unit 2 "Word Formation"
Word Building คือ “การสร้างคำขึ้นมาใหม่จากฐานเดิม
(base) โดยการเติมพยางค์เข้าข้างหน้าบ้าง หรือ ข้างท้ายบ้าง”
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. พยางค์ที่เติมข้างหน้าเพื่อให้เป็นคำใหม่ เรียกพยางค์นั้นว่า “Prefix” (อุปสรรค)
2. พยางค์ที่เติมท้ายคำเพื่อให้เป็นคำใหม่ เรียกพยางค์นั้นว่า “Suffix” (ปัจจัย)
ทั้ง Prefix และ Suffix รวมกันแล้วเรียกว่า “Affix” มีหน้าที่ในการสร้างคำขึ้นมาใหม่ด้วยกันทั้งนั้น ดังจะขอยกตัวอย่างให้ดู เพื่อทำให้เข้าใจได้ดีขึ้น เช่น คำที่สร้างจาก happy จะได้มีรูปดังนี้
happy happily happiness unhappy unhappily unhappiness
- พยางค์ที่เติมข้างท้าย คือ ly, ness เรียกว่า Suffix
- พยางค์ที่เติมข้างหน้า คือ un เรียกว่า Prefix
1. พยางค์ที่เติมข้างหน้าเพื่อให้เป็นคำใหม่ เรียกพยางค์นั้นว่า “Prefix” (อุปสรรค)
2. พยางค์ที่เติมท้ายคำเพื่อให้เป็นคำใหม่ เรียกพยางค์นั้นว่า “Suffix” (ปัจจัย)
ทั้ง Prefix และ Suffix รวมกันแล้วเรียกว่า “Affix” มีหน้าที่ในการสร้างคำขึ้นมาใหม่ด้วยกันทั้งนั้น ดังจะขอยกตัวอย่างให้ดู เพื่อทำให้เข้าใจได้ดีขึ้น เช่น คำที่สร้างจาก happy จะได้มีรูปดังนี้
happy happily happiness unhappy unhappily unhappiness
- พยางค์ที่เติมข้างท้าย คือ ly, ness เรียกว่า Suffix
- พยางค์ที่เติมข้างหน้า คือ un เรียกว่า Prefix
1. การใช้ Prefix
Prefix แปลว่า “อุปสรรค” ได้แก่ “คำที่ใช้เติมหน้าคำอื่น เพื่อให้ความหมายของคำนั้นเปลี่ยนไป
แต่ไม่เปลี่ยนชนิดของคำ ๆนั้น ตัวอย่าง เช่น polite เป็นคำคุณศัพท์
เติมอุปสรรค im ลงไปเป็น impolite ก็ยังคงเป็นคุณศัพท์อยู่ตามเดิม
(แต่ความหมายเปลี่ยนเป็นตรงกันข้าม) ยกเว้นอุปสรรค en, em เท่านั้นที่ทำให้คำนั้นกลายเป็นกริยาคือเปลี่ยนชนิดไป”
Prefix แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
ตามลักษณะของคำที่ใช้นำหน้าคือ :
1) ชนิดที่เติมข้างหน้าแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้ามได้แก่ un-, dis-,in-,im-,non-,etc.
2) ชนิดที่เติมข้างหน้าแล้ว ทำให้คำนั้นเป็นกริยาขึ้นมาได้แก่ en-, em-
3) ชนิดที่เติมลงไปข้างหน้าแล้ว มีความหมายแตกต่างกัน ซึ่งผู้ศึกษาต้องจดจำเป็นตัวๆไป ได้แก่ co-, re-, supper-, etc. เป็นต้น
1.1 Prefix (อุปสรรค) ที่เติมข้างหน้าคำใด แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม หรือ มีความหมายเป็นปฏิเสธ (negative prefix) ได้แก่ un-, dis-, in- (รวมทั้ง im-, il-, ir-)
ซึ่งแต่ละตัวใช้เติมข้างหน้าคำได้ดังนี้
un- (ไม่) โดยปกติใช้เติมข้างหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) เช่น
1) ชนิดที่เติมข้างหน้าแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้ามได้แก่ un-, dis-,in-,im-,non-,etc.
2) ชนิดที่เติมข้างหน้าแล้ว ทำให้คำนั้นเป็นกริยาขึ้นมาได้แก่ en-, em-
3) ชนิดที่เติมลงไปข้างหน้าแล้ว มีความหมายแตกต่างกัน ซึ่งผู้ศึกษาต้องจดจำเป็นตัวๆไป ได้แก่ co-, re-, supper-, etc. เป็นต้น
1.1 Prefix (อุปสรรค) ที่เติมข้างหน้าคำใด แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม หรือ มีความหมายเป็นปฏิเสธ (negative prefix) ได้แก่ un-, dis-, in- (รวมทั้ง im-, il-, ir-)
ซึ่งแต่ละตัวใช้เติมข้างหน้าคำได้ดังนี้
un- (ไม่) โดยปกติใช้เติมข้างหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
un แล้ว
|
คำแปล
|
Clean
|
สะอาด
|
Unclean
|
ไม่สะอาด
|
Lucky
|
มีโชค
|
Unlucky
|
ไม่มีโชค
|
Safe
|
ปลอดภัย
|
Unsafe
|
ไม่ปลอดภัย
|
Wise
|
ฉลาด
|
Unwise
|
ไม่ฉลาด
|
Kind
|
ใจดี
|
Unkind
|
ใจร้าย
|
dis- (ไม่) ใช้เติมข้างหน้ากริยา
(Verb) บ้าง, หน้าคำนาม (noun) บ้าง, หน้าคุณศัพท์
(adjective) บ้าง เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
dis แล้ว
|
คำแปล
|
Like
(v.)
|
ชอบ
|
Dislike
|
ไม่ชอบ
|
Agree
(v.)
|
เห็นด้วย
|
Disagree
|
ไม่เห็นด้วย
|
Appear
(v.)
|
ปรากฏ
|
Disappear
|
ไม่ปรากฏ
|
Please
(v.)
|
พอใจ
|
Displease
|
ไม่พอใจ
|
Believe
(v.)
|
เชื่อ
|
Disbelieve
|
ไม่เชื่อ
|
Comfort
(n.)
|
ความสะดวกสบาย
|
Discomfort
|
ความไม่สะดวกสบาย
|
Belief
(n.)
|
ความเชื่อ
|
Disbelief
|
ความไม่เชื่อ
|
Advantage
(n.)
|
ความได้เปรียบ
|
Disadvantage
|
เสียเปรียบ
|
Honest
(adj.)
|
ซื่อสัตย์
|
Dishonest
|
ไม่ซื่อสัตย์
|
Similar
(adj.)
|
เหมือนกัน
|
Dissimilar
|
ไม่เหมือนกัน
|
Courteous
(adj.)
|
สุภาพ
|
Discourteous
|
ไม่สุภาพ
|
in-, (im-, il-, ir) (ไม่)
ใช้เติมข้างหน้าคำคุณศัพท์เท่านั้น แต่จะใช้อุปสรรคตัวไหนเติม มีหลักเกณฑ์ดังนี้
ใช้ im- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นด้วยพยัญชนะ b, m, p เช่น
ใช้ im- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นด้วยพยัญชนะ b, m, p เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
im- แล้ว
|
คำแปล
|
Possible
|
เป็นไปได้
|
impossible
|
เป็นไปไม่ได้
|
Mortal
|
ต้องตาย
|
Immortal
|
ไม่ตาย
|
Proper
|
เหมาะสม
|
Improper
|
ไม่เหมาะสม
|
ใช้ il- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ 1 เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติมil- แล้ว
|
คำแปล
|
Literate
|
อ่านออกเขียนได้
|
Illiterate
|
อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
|
Legal
|
ถูกกฎหมาย
|
Illegal
|
ผิดกฎหมาย
|
Legible
|
อ่านออก
|
Illegible
|
อ่านไม่ออก
|
ใช้ ir เติม
เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ r เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
ir- แล้ว
|
คำแปล
|
Regular
|
ปกติ
|
Irregular
|
ไม่ปกติ
|
Rational
|
มีเหตุผล
|
Irrational
|
ไม่มีเหตุผล
|
Responsible
|
รับผิดชอบ
|
Irresponsible
|
ไม่รับผิดชอบ
|
ใช้ in- เติม เมื่อคุณศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะนอกจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
in- แล้ว
|
คำแปล
|
Definite
|
จำกัด
|
Indefinite
|
ไม่จำกัด
|
Visible
|
พอมองเห็นได้
|
Invisible
|
ไม่พอมองเห็นได้
|
Complete
|
สมบูรณ์
|
Incomplete
|
ไม่สมบูรณ์
|
Operative
|
กระทำการ
|
Inoperative
|
ไม่กระทำการ
|
Etc.
|
Etc.
|
non- (ไม่) อุปสรรคคำนี้มักจะใช้เป็นศัพท์ทางวิชาการ (Technical Word) เสียมากกว่าใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
non- แล้ว
|
คำแปล
|
Finite
|
แท้
|
Nonfinite
|
ไม่แท้
|
Stop
|
หยุด
|
Nonstop
|
ไม่หยุด
|
Violent
|
รุนแรง
|
Nonviolent
|
ไม่รุนแรง
|
Political
|
แห่งการเมือง
|
Nonpolitical
|
ไม่เกี่ยวกับการเมือง
|
Essential
|
สำคัญ, จำเป็น
|
Nonessential
|
ไม่สำคัญ
|
Metallic
|
เหมือนโลหะ
|
Nonmetallic
|
ไม่เหมือนโลหะ
|
Etc.
|
Etc.
|
หมายเหตุ : แต่เดิมอุปสรรค non- เมื่อใช้เติมหน้าคำมักใช้ hyphen มาคั่น เช่น :-partisan
non-partisan (ถือพรรคพวก – ไม่ถือพรรคพวก) แต่ปัจจุบันนี้ไม่ค่อยนิยมใช้ Hyphen มาขั้นแล้ว
mis (มิส)
อุปสรรคตัวนี้ไม่ทำให้ความหมายตรงกันข้ามเหมือนตัวอื่น แต่ใช้ในความหมายว่า “ผิด,
ไม่ถูกต้อง” ใช้เติมข้างหน้ากริยาเท่านั้น เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
mis- แล้ว
|
คำแปล
|
Write
|
เขียน
|
Miswrite
|
เขียนผิด
|
Read
|
อ่าน
|
Misread
|
อ่านผิด
|
Manage
|
จัดการ
|
Mismanage
|
จัดการไม่ดี
|
Pronounce
|
ออกเสียง
|
Mispronounce
|
ออกเสียงไม่ผิด
|
Understand
|
เข้าใจ
|
Misunderstand
|
เข้าใจผิด
|
Spell
|
สะกดตัว
|
Misspell
|
สะกดตัวผิด
|
2.2 Prefix ที่เติมข้างหน้าคำใด แล้วทำให้คำๆนั้นกลายเป็นกริยาขึ้นมาได้แก่ en- หรือ em- ซึ่งมีหลักการเติมดังนี้
en (ทำให้เป็นเช่นนั้น, ทำให้กลายเป็น) ใช้เติมข้างหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะทั่วไป)เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
en- แล้ว
|
คำแปล
|
Force
(n.)
|
อำนาจ
|
Enforce
(v.)
|
บังคับให้กระทำ
|
Circle
(n.)
|
วงกลม
|
Encircle
(v.)
|
ทำให้เป็นวงกลม
|
Large
(adj.)
|
ใหญ่
|
Enlarge
(v.)
|
ขยายให้ใหญ่
|
Dear
(adj.)
|
ที่รัก
|
Endear
(v.)
|
ทำให้เป็นที่รัก
|
Danger
(n.)
|
อันตราย
|
Endanger
(v.)
|
ทำให้มีอันตราย
|
Slave
(n.)
|
ทาส
|
Enslave
(v.)
|
ทำให้เป็นทาส
|
Noble
(adj.)
|
สูงศักดิ์
|
Ennoble
(v.)
|
ทำให้สูงศักดิ์
|
em- (ทำให้กลายเป็น, ทำให้เป็นเช่นนั้น) ใช้เติมข้างหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ b, m, และ p เท่านั้น เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
em- แล้ว
|
คำแปล
|
Body
|
ร่างกาย
|
Embody
|
ทำให้เป็นรูปร่าง
|
Bitter
|
ขม, ขมขื่น
|
Embitter
|
ทำให้ขมขื่น
|
Power
|
อำนาจ
|
Empower
|
ทำให้มีอำนาจ
|
Purple
|
สีม่วง
|
Empurple
|
ทำให้เป็นสีม่วง
|
3.3 Prefix ที่ใช้เติมข้างหน้าคำอื่น
แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายแตกต่างกัน ได้แก่ prefix ต่อไปนี้
anti- (แอนทิ) มีความหมายเท่ากับ “ขัดขวาง, สกัดกั้น” เช่น
anti- (แอนทิ) มีความหมายเท่ากับ “ขัดขวาง, สกัดกั้น” เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
until- แล้ว
|
คำแปล
|
War
|
สงคราม
|
Antiwar
|
สงครามสะกัดกั้น
|
Communist
|
คอมมิวนิสต์
|
Anticommunist
|
ต่อต้านคอมมิวนิสต์
|
Aircraft
|
อากาศยาน
|
Antiaircraft
|
ต่อสู้อากาศยาน
|
Social
|
สังคม
|
Antisocial
|
เกลียดสังคม
|
ante- (แอนทิ) มีความหมายเท่ากับ “ก่อน, แรก, ก่อนถึง” เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
ante- แล้ว
|
คำแปล
|
Meridiem
|
เที่ยง
|
Ante
meridiem
|
ก่อนเที่ยง
|
Nuptial
|
การแต่งงาน
|
Antenuptial
|
ก่อนแต่งงาน
|
Natal
|
การเกิด
|
Antenatal
|
ออกก่อนกำหนด
|
Date
|
ลงวันที่
|
Antedate
|
ลงวันที่ก่อนวันจริง
|
co (โค) มีความหมายเท่ากับ “ร่วมกัน, สห, รวม” ใช้เติมหน้านามหรือกริยา เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
co- แล้ว
|
คำแปล
|
Author
(n.)
|
ผู้แต่ง
|
Co-author
|
ผู้แต่งร่วมกัน
|
Operate
(v.)
|
กระทำ
|
Co-operate
|
ร่วมมือกัน
|
Education
(n.)
|
การศึกษา
|
Co-education
|
สหศึกษา
|
ex (เอกซ) มีความหมายเท่ากับ “เก่า, พ้น, ก่อน” ใช้เติมหน้าคำนาม (noun) เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
ex- แล้ว
|
คำแปล
|
President
|
ประธาน
|
Ex-president
|
ประธานคนก่อนๆ
|
Wife
|
ภรรยา
|
Ex-wife
|
ภรรยาคนเก่า
|
Governor
|
ผู้ว่าราชการ
|
Ex-governor
|
ผู้ว่าราชการคนก่อน
|
Pre (พรี) มีความหมายเท่ากับ “ก่อน, หน้า, ล่วงหน้า” ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
pre- แล้ว
|
คำแปล
|
History
|
ประวัติศาสตร์
|
Pre-history
|
ก่อนประวัติศาสตร์
|
War
|
สงคราม
|
Pre-war
|
ก่อนสงคราม
|
Mature
|
บรรลุนิติภาวะ
|
Pre-mature
|
ก่อนบรรลุนิติภาวะ
|
Post (โพสท) มีความหมายเท่ากับ
“เก่า, หลัง, ภายหลัง”
ใช้เติมได้ทั้งหน้านามและหน้าคุณศัพท์ เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
post- แล้ว
|
คำแปล
|
Date
(v.)
|
ลงวันที่
|
Post
date
|
ลงวันที่หลังวันจริง
|
War
(n.)
|
สงคราม
|
Post
war
|
หลังสงคราม
|
Meridiem
(n.)
|
เที่ยง
|
Post-meridiem
|
หลังเที่ยง
|
Graduate
(v.)
|
รับการศึกษา
|
Post-graduate
|
รับการศึกษาเพิ่มเติมภายหลังรับปริญญาไปแล้ว
|
Re (รี) มีความหมายเท่ากับ “อีก, ใหม่, อีกที” ใช้เติมข้างหน้าคำกริยาเท่านั้น เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
re- แล้ว
|
คำแปล
|
Write
|
เขียน
|
Rewrite
|
เขียนใหม่
|
Tell
|
บอก, เล่า
|
Retell
|
เล่าใหม่
|
Name
|
ตั้งชื่อ
|
Rename
|
ตั้งชื่อใหม่
|
Read
|
อ่าน
|
Reread
|
อ่านใหม่
|
Sub (ซับ) มีความหมายเท่ากับ “ใต้, รอง, ย่อย, ต่ำกว่า” ใช้เติมหน้าคำได้ทั่วไป เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
Sub- แล้ว
|
คำแปล
|
Standard
|
มาตรฐาน
|
Sub-standard
|
ต่ำกว่าระดับมาตรฐาน
|
Committee
|
กรรมการ
|
Sub-committee
|
อนุกรรมการ
|
Agent
|
ตัวแทนใหญ่
|
Sub-agent
|
ตัวแทนย่อย
|
Editor
|
บรรณาธิการ
|
Sub-editor
|
รองบรรณาธิการ
|
Governor
|
ผู้ว่าราชาการ
|
Sub-governor
|
รองผู้ว่าราชการ
|
Super (ซูเพอร์) มีความหมายเท่ากับ “เหนือ, เกินกว่า, สูงกว่า, ดีกว่า” ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
Super- แล้ว
|
คำแปล
|
Man
|
คนธรรมดา
|
Superman
|
มนุษย์มหัศจรรย์
|
Natural
|
ตามธรรมชาติ
|
Supernatural
|
เหนือธรรมชาติ
|
Film
|
ภาพยนตร์
|
Superfilm
|
ภาพยนตร์ที่ดีเลิศเป็นพิเศษ
|
multi- (มัลทิ) มีความหมายเท่ากับ
“มาก, หลาย, ผสม” ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง,
คุณศัพท์บ้าง เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
multi- แล้ว
|
คำแปล
|
Coloured
|
มีสี
|
Multi-coloured
|
มีหลายสี
|
Fom
|
รูปแบบ
|
Multiform
|
มีหลายรูปแบบ
|
Millionaire
|
เศรษฐี
|
Multimillionaire
|
เศรษฐีมีเงินมาก
|
Poly- (โพลี) มีความหมายเท่ากับ “มาก, หลาย” ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
Poly- แล้ว
|
คำแปล
|
Technic
|
หลักวิชา
|
Polytechnic
|
ใช้หลักวิชาหลายอย่าง
|
Syllable
|
พยางค์
|
Polysyllable
|
คำมีหลายพยางค์
|
Trans- (ทรานซ) มีความหมายเท่ากับ “ข้าม, ผ่าน, ตลอด, ทะลุ” ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คำคุณศัพท์บ้าง เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
Trans- แล้ว
|
คำแปล
|
Continental
|
ทวีป
|
Transcontinental
|
ข้ามทวีป
|
Atlantic
|
มหาสมุทรแอตแลนติก
|
Transatlantic
|
ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก
|
Action
|
การกระทำ
|
Transaction
|
การกระทำที่ต่อเนื่อง
|
Tri- (ไทร) มีความหมายเท่ากับ “สาม” ใช้เติมหน้าคำนามและคุณศัพท์ เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
Tri- แล้ว
|
คำแปล
|
Syllable
|
พยางค์
|
Trisyllable
|
สามพยางค์
|
Angle
|
เหลี่ยม
|
Triangle
|
รูปสามเหลี่ยม
|
Cycle
|
รถจักรยาน
|
Tricycle
|
รถสามล้อ
|
Bi- (ไบ) มีความหมายเท่ากับ “สอง” ใช้เติมหน้าคำนามและคุณศัพท์ เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
Bi- แล้ว
|
คำแปล
|
Cycle
|
รถจักรยาน
|
Bicycle
|
รถจักรยานสองล้อ
|
Polar
|
ขั้วโลก
|
Bipolar
|
มีสองขั้วโลก
|
Sexual
|
แห่งเพศ
|
Bisexual
|
มีสองเพศ
|
inter- (อินเตอร์)
มีความหมายเท่ากับ “ระหว่าง, ซึ่งกันและกัน, ภายใน” ใช้เติมหน้าคำนามและคุณศัพท์ เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
inter- แล้ว
|
คำแปล
|
National
|
แห่งชาติ
|
International
|
ระหว่างชาติ
|
Phone
|
โทรศัพท์
|
Interphone
|
โทรศัพท์ภายใน
|
Marry
|
แต่งงาน
|
Intermarry
|
แต่งงานระหว่างบุคคลที่ต่างเชื้อชาตและเผ่าพันธุ์
|
Over- (โอเวอร์) มีความหมายเท่ากับ “มากเกินไป” ใช้เติมหน้ากริยาเท่านั้น เช่น
ฐานเดิม
|
คำแปล
|
เติม
Over- แล้ว
|
คำแปล
|
Do
|
ทำ
|
Overdo
|
ทำมากเกินไป
|
Pay
|
จ่าย
|
Overpay
|
จ่ายมากเกินไป
|
Eat
|
กิน
|
Overeat
|
กินมากเกินไป
|
Exercise A : Choose the
best answer.
1. Which of these is the correct spelling? We had a ...
A)
disagreement B)
dissagreement C)
disagrement
2.
Which of these is the correct spelling? That
dress is very...
A)
colourfull B)
colorful C)
colourful
3.
The word pre-war means?
A)
before the war B)
during the war C)
after the war
4.
What does the word tireless mean?
A)
always feeling tired B)
never feeling tired C) feeling less
tired than someone else
5.
If you wanted to say someone is not helpful, which word would you use?
A)
inhelpful B)
unhelpful C)
helpfulless
6.
If you wanted to compare two bags of shopping, what would you say?
A)
this one is lightest than that one B) this one is lighted than that one C) this one is lighter
than that one
7.
If you heard that a band had re-formed, what would this mean?
A)
formed again B)
formed for the first time C)
formed for the last time
8.
Which of these words means 'not sure'
A)
undone B)
uncertain C)
dissure
9.
If you take away the prefix and the suffix, what is left of the word
'unemployed'?
A)
unemploy B)
employed C)
employ
10.
Which suffix can you not add to the root word box to make a new word?
A)
ful B)
ing C)
es
Exercise B: Prefixes Complete
the sentences by writing the correct prefix in the blank space.
2. No, that answer is _____correct. It is wrong.
3. Let's look at this information again. We should _____view it before the test.
4. I saw Allison just a moment ago, but now I can't find her! It seems that she _____appeared!
5. Oh, I'm sorry, I didn't hear you correctly. I _____understood you.
6. The subway does not go over the land like a normal train. It moves _____ground.
No comments:
Post a Comment